ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชี วศึกษา (สอศ.) ดร.สุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึ กษา ได้ทำความร่วมมือกับ นายชู เชียน (Mr.Qu Qian) รองนายกเทศมนตรีนครฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน, นายเติ้ง รุ่ง (Mr.Deng Rui) รองผู้อำนวยการคณะกรรมการการศึ กษาฉงชิ่ง และคณะ เข้าพบเพื่อประชุมหารือความร่ วมมือการจัดการอาชีวศึกษาเพื่ อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่ างนครฉงชิ่งและประเทศที่อยู่ ในแนว “หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง” (One Belt One Road) โดยมีคณะผู้บริหารวิทยาลัยอาชี วศึกษาที่เข้าร่วมโครงการร่ วมหารือด้วย
ดร.สุเทพ กล่าวว่า นครฉงชิ่ง ได้ร่วมมือกับไทยในการจัดการศึ กษาอาชีวศึกษา ด้านโลจิสติก และระบบราง โดยนครฉงชิ่งได้ตั้งศูนย์ ประสานงานการอาชีวศึกษาไท-จีน ขึ้นที่จีน ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ดี และอยากให้มีความร่วมมืออย่างต่ อเนื่อง และมีการแลกเปลี่ยนครูและนักเรี ยน นักศึกษา ได้ศึกษาในสาขาต่างๆ ตามที่ได้ตกลงกันไว้ และจะร่วมมือในสาขาการท่องเที่ ยว ที่วิทยาลัยเทคนิคบางแสน จ.ชลบุรี ด้วย และหวังว่าจะได้ร่วมมือกันจั ดการเรียนการสอนในสาขาต่าง ๆเพิ่มมากขึ้นด้วย
Mr.Qu Qian กล่าวว่า ตนยินดีที่ได้มีโอกาสพบเพื่ อแลกเปลี่ยนความร่วมมือในครั้ งนี้ นครฉงชิ่ง เป็นเมืองเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่ งเดียวในภาคตะวันตกของจีน ปัจจุบันมีประชากรกว่า 33 ล้านคน เป็นเมืองที่ประกอบไปด้วยภู เขาและแม่น้ำ อยู่ริมแม่น้ำแยงซี และมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 3 พันปี ซึ่ง นายสี จิ้นผิง ประธานาธิบดีประชาชนจีน ก็ได้มอบนโยบายให้กับเมืองฉงชิ่ ง จึงหวังว่าความร่วมด้านการจั ดการศึกษาครั้งนี้จะดำเนินไปด้ วยดี
ขณะที่ Mr.Deng Rui กล่าวว่า ปัจจุบันเมืองฉงชิ่งมีสถานศึกษา ระดับสูง จำนวน 72 แห่ง โดย 25 แห่งเปิดการสอนในระดับปริญญาตรี ขึ้นไป ปัจจุบันมีนักเรียน นักศึกษาจำนวน 1.2 ล้านคน และมีสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา จำนวน 50 แห่ง และมีนักเรียน นักศึกษา กว่า 5 แสนคน โดยสถานศึกษาทุกแห่งจะมีการจั ดการเรียนการสอนด้านการคมนาคม การเกษตร ด้านการสื่อสาร และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง และ เมื่อเดือนเมษายน 2561ที่ผ่านมา ได้มีพิธีเปิดศูนย์ ประสานงานอาชีวศึกษาไทย-จีน ขึ้นที่สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีวิทยาลัยในจีนเข้าร่วมทั้ งหมด 19 แห่ง และวิทยาลัยในไทยเข้าร่วมอีก 23 แห่ง การจัดตั้งศูนย์ฯก็เพื่อตอบรั บนโยบาย “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One Belt One Road) เพื่อพัฒนานักเรียน นักศึกษา รวมถึงบุคลากรด้านอาชีวศึกษา และการร่วมมือกับประเทศไทย ก็เพื่อพัฒนาและสร้างคนที่ ภายใต้สโลแกน “รู้ภาษาจีน รู้ทักษะอาชีพ และรอบรู้ด้านวัฒนธรรม” ถือว่าศูนย์ประสานงานอาชีวศึ กษาไทย-จีน จะเป็นเวทีในการกระชับความร่ วมมือและพัฒนาความร่วมมื อตามนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้ นทางโดยเฉพาทิศใต้ของจีน และก็หวังว่าสถานศึ กษาของไทยและจีนจะกระชับความสั มพันธ์กันแน่นแฟ้นและยั่งยื นในด้านทักษะวิชาชีพและด้ านการเรียนการสอน นอกจากนี้รัฐบาลและเมืองฉงชิ่ งยังให้ทุนการศึกษาสนับสนุนเมื่ อนักเรียนไปเรียนอยู่ที่เมื องฉงชิ่งด้วย
“เมืองฉงชิ่ง อยากร่วมมือกับประเทศไทยในการพั ฒนาผู้เรียนในด้านบริการ การท่องเที่ยว รวมถึงด้านอาหารไทย และภาษาไทย เพราะก่อนที่นักเรียนจีนจะเดิ นทางมาไทยก็จะต้องรู้ภาษาไทย จึงหวังว่าจะมีอาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญด้ านภาษาไทยไปให้ความรู้แก่นักเรี ยนที่ประเทศจีน และทางการจีนหวังว่านักเรี ยนของจีนจะได้มีโอกาสเดิ นทางมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ ประเทศไทยด้วย และก็อยากให้ไทยร่วมกับสถาบั นขอจื้อในไทย พัฒนาภาษาจีนให้กับนักเรียน นักศึกษาก่อนเดินทางไปศึกษาต่ อที่ประเทศจีนด้วย ทั้งนี้หวังว่าศูนย์ ประสานงานการศึกษาไทย-จีน จะมีการจะทำงานที่เป็นรูปธรรม และหวังว่าผอ.สถานศึกษาจะผลักดั นให้นักเรียน นักศึกษาเข้าร่วมโครงการต่างๆที่ ประเทศจีนได้จัดให้และมี โอกาสได้ไปศึกษาต่อที่ประเทศจีน และหวังว่าความร่วมมือจะเป็ นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน”Mr .Deng Rui
นายพลฤทธิ์ จินดาหลวง รองผอ.วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง ในฐานะรองประธานศูนย์ ประสานงานการศึกษาไทย-จีน กล่าวว่า ภายหลังมีการจัดตั้งศูนย์ ประสานงานอาชีวศึกษาไทย-จีน ขึ้นเมื่อเดือนเมษายน แล้ว ก็ได้มีวิทยาลัยอาชีวศึ กษาของไทย อาทิ วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี. วิทยาลัยเทคนิคบ้านไผ่วิทยาลั ยเทคนิคสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด เร่ิมจัดส่งนักเรียน นักศึกษาไปเรียนในสาขาการบัญชี สาขาโลจิสติกส์ สาขาระบบราง สาขาขวบคุมและซ่อมบบำรุงหุ่ นยนต์อุตสาหกรรม ในวิทยาลัยต่างๆที่เมืองฉงชิ่ งแล้วประมาณ 150 คน ระยะเวลาในการศึกษา 1 ปี และขณะวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทั ย อยู่ระหว่าติดต่อประสานงาน เพื่อไปศึกษาในสาขาวิ ชาระบบความปลอดภัยจากเครือข่ ายอินเตอร์เน็ต
++++++++++++++++